Monday, July 23, 2018

โรค SLE คืออะไร ต้องตรวจอะไรบ้าง ดูแลตัวเองอย่่างไร!!!




เห็ดหลินจือ มีสรรพคุณอะไรบ้าง...ศึกษาเพิ่มเติม!!! 

สายพันธุ์พระราชทานG2 (มีงานวิจัย เห็นผลจริง)


VDO อธิบายว่า โรค SLE คืออะไร โดย GreatTime


โรคพุ่มพวง,โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือโรคSLE (Systemic lupus erythematosus, SLE) เป็นโรคภูมิต้านทานตนเองทำลายเนื้อเยื่อตัวเองเกิดการอักเสบเรื้อรัง อาการของโรคจะมีการกำเริบและสงบเป็นระยะ โรคนี้พบได้บ่อยในผู้หญิงอายุน้อย โดยลักษณะพิเศษที่พบในโรคนี้คือการตรวจพบมีแอนติบอดีต่อส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์ (antinuclear antibody, ANA) โรคนี้จะมีอาการแสดงของความผิดปกติหลายระบบในร่างกายร่วมกัน เช่น

ระบบผิวหนัง
ระบบประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กล้ามเนื้อและข้อ
เม็ดเลือด
ไต
ระบบทางเดินหายใจ ฯลฯ

ดังนั้น ผู้ป่วยโรคSLE จึงมีอาการแสดงทางคลินิกที่หลากหลาย ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีความรุนแรง และพยากรณ์โรคที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับจำนวนอวัยวะ และชนิดของอวัยวะที่มีความผิดปกติ อาการที่ไม่รุนแรง เช่น อาการผื่น ปวดข้อ ไปจนถึงอาการแสดงที่มีความรุนแรงถึงชีวิต เช่น ไตอักเสบ การดำเนินโรคในโรคSLEนั้น ส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาที่โรคกำเริบ และช่วงเวลาที่โรคสงบสลับกัน โดยอาการขระกำเริบนั้นมีความแตกต่างกันระหว่างบุคคล การให้การดูแลรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ขณะที่มีอาการกำเริบแตกต่างกัน นอกจากนี้การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคSLE ไม่ได้จำกัดเพียงการรักษา ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการกำเริบเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงการวางแผนการรักษาโรคในระยะยาวเพื่อป้องกันการกำเริบ และภาวะแทรกซ้อนทั้งจากตัวโรคและจากการรักษาโรคร่วมกับการติดตามผู้ป่วยที่เหมาะสม

ผู้ป่วย SLE รักษาไม่หายแต่สามารถมีคุณภาพีชีวิตใกล้เคียงคนปกติ ผู้ป่วยต้องทราบว่าโรคนี้จะมีบางช่วงที่ปราศจากอาการเรียก remission บางช่วงก็มีระยะที่เกิดโรคกำเริบเรียก flares ผู้ป่วยต้องเรียนรู้วิธีป้องกันโรคกำเริบและรู้วิธีรักษาโรคนี้มักจะเป็นในผู้หญิงแต่ไม่เป็นกรรมพันธุ์ โรค SLE มีได้หลายลักษณะดังนี้

Systemic lupus erythematosus (SLE) หมายถึงโรคที่มีการทำอักเสบและมีการทำลายเนื้อเยื่อหลายอวัยวะ เช่น ผิวหนัง ไต ข้อ หัวใจ
Discoid lupus erythematosus โรคที่เป็นเฉพาะผิวหนังโดยเฉพาะบริเวณหน้า หนังศีรษะ ผู้ป่วยจำนวนไม่มากที่เปลี่ยนไปเป็น SLE
Drug-induced lupus เป็นกลุ่มโรคที่มีอาการเหมือน SLE เช่น มีผื่น ข้ออักเสบ มีไข้ แต่ไม่เป็นโรคไต เมื่อหยุดยาอาการต่างๆจะหายไป
Neonatal lupus ทารกที่เกิดจากแม่ที่เป็น SLE พบน้อยมาก

สาเหตุของโรคSLE SLE
เอสแอลอี

สาเหตุที่แท้จริงไม่มีใครทราบ แต่เชื่อมีปัจจัยทางพันธุกรรมส่งเสริม ซึ่งมีหลักฐานจากการเกิดโรคSLEในแฝดที่มาจากไข่ใบเดียวกัน มีการเกิดโรคSLEสูงกว่าแฝดที่มาจากไข่คนละใบ นอกจากนั้นยังพบยีนที่เอื้อต่อการเกิดโรค ปัจจัยสำคัญคือสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการทำให้เกิดโรค เช่น การติดเชื้อ ยา แสงแดด สาเคมีในสิ่งแวดล้อม

สาเหตุของการเกิดโรคSLEหรือโรคเอสแอลอี SLE

อาการของโรคSLE 
SLE แพ้แสง

โรค SLE มีความรุนแรงแต่ละคนไม่เท่ากัน และสามารถเกิดอวัยวะได้หลายอวัยวะ เช่น

อาการทั่วไปได้แก่ มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดข้อ น้ำหนักลด
อาการทางข้อ ได้แก่ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ข้ออักเสบ
อาการทางผิวหนัง ได้แก่ ผื่นที่หน้า แพ้แสง
อาการทางระบบประสาท ได้แก่ ชัก หรือมีอาการทางจิตเวช
อาการทางโรคเลือด ได้แก่ซีด เกล็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวต่ำ
อาการทางโรคไต ไตรั่ว โรคไตวาย
อาการทางโรคหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
อาการทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
อาการที่สำคัญของโรคได้แก่ มีไข้ ปวดข้อ และมีผื่น

การวินิจฉัยโรค SLE
ผลเลือดเนื่องจากความรุนแรงของโรคในแต่ละคนไม่เท่ากัน และอาการแต่ละระบบก็มีความรุนแรงต่างกันและอาการแสดงไม่พร้อมกัน ทำให้การวินิจฉัยโรคมีความไม่แน่นอน จึงต้องวินิจฉายตามเกณฑ์ซึ่งต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกายพบผื่น ข้ออักเสบ แพ้แสง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การวินิจฉัยโรคSLE

การรักษาโรคSLE
ครีมกันแดดโรคSLEจะเป็นๆหายๆ และมีการกำเริบ หลักสำคัญการรักษาโรคSLEคือการดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการกำเริบ การรักษาแบ่งออกเป็นการชักนำเพื่อให้โรคสงลโดยเร็วเพื่อป้องกันไตเสื่อม เมื่อโรคสงบแล้วจะต้องป้องกันมิให้โรคกำเริบ การรักษาแบ่งออกเป็นการดูแลตัวเอง และการใช้ยา

การรักษาโรคSLE

โรคแทรกซ้อนของโรคSLE
โรคSLEเป็นโรคที่กระทบกับอวัยวะหลายอวัยวะและหลายระบบ การป้องกันโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากตัวโรคเอง เช่นไตวาย ซีด เกล็ดเลือดต่ำ โรคทางระบบประสาท รวมทั้งโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากยากดภูมิ เช่นการติดเชื้อฉวยโอกาศ เช่น วัณโรค โรคพยาธิ์ นอกจากนั้นยังต้องป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด เนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการเกิดโรค

การรักษาโรคแทรกซ้อน



คุณภาพชีวิตของผู้ป่วย SLE

แม้ว่าอาการของโรค SLE จะมีมากและผลข้างเคียงของยาจะมีมากแต่ผู้ป่วยสามารถมีชีวิตอย่างมีความสุขได้ หากเรียนรู้ถึงอาการเตือนของการกำเริบของโรค  และสามารถรู้ถึงวิธีป้องกันโรค ผู้ป่วยควรไดัรับการตรวจจากแพทย์อย่างสม่ำเสมอโดยการตรวจร่างกาย และตรวจเลือด ไม่ควรพบแพทย์เมื่อมีอาการเนื่องจากการรักษาแต่เริ่มแรก จะให้ผลการรักษาได้ผลดีกว่าการรักษาเมื่อโรคเป็นมากแล้ว

ผู้ป่วย SLE ควรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเช่น การตรวจเต้านม การตรวจภายใน การตรวจสุขภาพช่องปาก และการฉีดวัคซีน ผู้ป่วยที่รับประทานยา steroid หรือยารักษามาลาเรียควรได้รับการตรวจตาทุกปี

สัญญาณเตือนภัย
อ่อนเพลีย Increased fatigue 
ปวดข้อ Pain 
ผื่น Rash 
ไข้ Fever 
แน่นท้อง Stomach discomfort 
 ปวดศีรษะ Headache 
 มึนงง Dizziness
การป้องกันการกำเริบ

ต้องเรียนรู้สัญญาณเตือนภัย
ต้องตรวจร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
ตั้งเป้าหมายการรักษา
ต้องหลีกเลี่ยงแสงแดด
รักษาสุขภาพให้ดีและคุมอาหาร
หลีกเลี่ยงความเครียด
ต้องมีเวลาผักผ่อนเพียงพอ
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

สรุป
โรคSLEนั้นเป็นโรคเรื้อรังที่มีความหลากหลายของอาการ และอาการแสดง แพทย์ควรมีความรู้ ความเข้าใจในการวินิจฉัย การประเมินอวัยวะที่มีอาการ ระดับการกำเริบของโรค อวัยวะที่สูญเสียหน้าที่ไปแล้ว ภาวะแทรกซ้อนในระยะสั้น ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกชนิดการรักษา โดยคำนึงถึงการรักษาที่พอเพียงที่จะควบคุมโรคได้ มีผลแทรกซ้อนในระยะสั้นและระยะยาวน้อยที่สุด เนื่องจากการรักษาโรคSLEมีระยะการรักษาโรคยาวนาน ดังนั้น นอกจากการรักษาตัวโรคแล้วยังควรให้การรักษาป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว และควรให้ความสำคัญต่อการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยถึงแนวทางการรักษา แนวทางการปฏิบัติตนซึ่งจะนำไปสู่ผลการรักษาที่ดีในระยะยาว

การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยโรคโรคพุ่มพวง,โรคเอสแอลอี จะต้องอาศัยประวัติการเจ็บป่วย และผลตรวจเลือด การวินิจฉัยจะอาศัยเกณฑ์การวินิจฉัยเพื่อให้การวินิจฉัยแม่นยำขึ้น เกณฑ์การวินิจฉัย( ตาม American College of Rheumatology (ACR) criteria )จะมีความไว 85% และความแม่นยำ 95% เกณฑ์ดังกล่าวได้แก่

เยื่อหุ้มปอด หรือหัวใจ หรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
แผลในปาก
ข้ออักเสบ
แพ้แสง
ความผิดปกติของเลือด
มีภาวะทางไต
ตรวจเลือดพบ Antinuclear antibodies
ตรวจทางภูมิคุ้มกัน (eg, dsDNA; anti-Smith [Sm] antibodies)
มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ผื่นที่หน้า
ผื่น Discoid rash

เกณฑ์การวินิจฉัยต้องใช้ 4 ใน 11 ข้อ

การตรวจเลือด

การตรวจทั่วๆไป

การตรวจความสมบูรณืของเม็ดเลือด CBC
การตรวจการทำงานของไต Serum creatinine
การตรวจปัสสาวะ Urinalysis
การตรวจอื่นๆ

ESR or CRP results
Complement levels
การตรวจการทำงานของตับ Liver function tests
Creatine kinase assay
Spot protein/spot creatinine ratio
Autoantibody tests
การตรวจทางรังสี

การตรวจรังสีของข้อ
การตรวจรังสีปอด Chest radiography and chest CT scanning
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงหัวใจ Echocardiography
การตรวจ MRI/ MRA สมอง
การตรวจ Cardiac MRI
การตรวจพิเศษ

ผู้ป่วยบางรายอาจจะต้องมีการตรวจพิเศษเช่น

การเจาะเข่าในกรณีที่มีการอักเสบของเข่า
การเจาะน้ำไขสันหลัง
การตัดชิ้นเนื้อไต
การดูแลรักาาผู้ป่วย

การดูแลผู้ป่วยแต่ละรายไม่เหมือนกันขึ้นกับความรุนแรง และอาการแสดงออก

การใช้ยารักษาได้แก่

Biologic DMARDs (disease-modifying antirheumatic drugs): Belimumab, rituximab, IV immune globulin
Nonbiologic DMARDS: Cyclophosphamide, methotrexate, azathioprine, mycophenolate, cyclosporine
ยากลุ่ม Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDS; eg, ibuprofen, naproxen, diclofenac)
ยากลุ่ม Corticosteroids (eg, methylprednisolone, prednisone)
ยารักษามาลาเรีย Antimalarials (eg, hydroxychloroquine)
สาเหตุของโรคแอลอี อาการของโรคเอสแอลอี การวินิจฉัย SLE การรักษาโรค SLE การป้องกันโรคแทรกซ้อน

ศึกษาเพิ่มเติม!!! งานวิจัย และการใช้งานพลูคาว
ฤทธิ์ในการบำบัดฟื้นฟู โรคความดันโลหิตสูง (Artrosclerosis)
ฤทธิ์ในการทำลายเซลล์มะเร็ง (Cytotoxicity Against Tunor Cellines)
เซลล์มะเร็งปอด เซลล์มะเร็งรังไข่ เซลล์เนื้องอกที่เป็นเนื้อร้าย เซลล์มะเร็งสมอง มะเร็งลำไส้ มีฤทธิ์ทำลายเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดอย่างมีนัยสำคัญ (จากการค้นคว้า)
ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Antileukemic Activty)
ฤทธิ์กับการติดเชื้อไวรัส กระตุ้นเซลล์เพิ่มภูมิคุ้มกัน ป้องกันไข้ทรพิษ หัด หัดเยอรมัน การติดเชื้อทางเดินหายใจ HIV เริม งูสวัด
ฤทธิ์เกี่ยวกับการต้านเชื้อราและแบคทีเรีย เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อรา Cryptocoecus Neoformans) ทางเดินปัสสาวะอักเสบ การติดเชื้อทางเดินหายใจ 
โรคทางเดินอาหาร โรคปริทันต์ โรคระบบสืบพันธุ์ กลากเกลื้อน โรคติดเชื้อในช่องปาก
ฤทธิ์ต้านการอักเสบต่างๆ (Anti – Inflamnation) ยับยั้งเอนไซม์ (Cyclooxygenase) เป็นบ่อเกิดของการอักเสบ หรือโรคที่มีอาการอักเสบ
ฤทธิ์ขับปัสสาวะ (Diuretic Actuvity) ขยายหลอดเลือด ทำให้อัตาการไหลเวียนของเลือดและการขับปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ฤทธิ์อื่นๆ เช่น เพิ่มภูมิคุ้มกันหรือภูมมิต้านทานโรคยับยั้งเนื้องอก กระตุ้นเซลล์ น้ำเหลือง ยับยั้งโรคเบาหวาน รักษาความสมดุลของร่างกายและอื่นๆ
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Herborg




             จากการศึกษาและได้ร่วมวิจัย   สมุนไพรคาวตอง ในแนวทางของเภสัชศาสตร์สเต็มเซลล์มากกว่า 16 ปี โดยการพัฒนาเภสัชศาสตร์ สารใหม่ๆจากสมุนไพรคาวตอง  ผ่านวิธีการหมักแบบชีวภาพที่ควบคุมระบบนิเวศน์ในถังหมักแบบเฉพาะและการทำให้แห้งโดยไม่ผ่านความร้อน ( Dynamic Freeze Drying )จึงทำให้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ช่วยดูแลสุขภาพแบบองค์รวม  จึงเป็นนวัตกรรมใหม่ที่สร้างความภาคภูมิใจของทีมวิจัยของคนไทย ที่มีเภสัชกรอุดม รินคำ ร่วมวิจัย  และนำมาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของ Herborg

             ภก.อุดม รินคำ ซึ่งเป็นผู้คิดค้นสูตร การผลิต สมุนไพรคาวตอง โดยได้รับอนุสิทธิบัตรเกี่ยวกับสมุนไพรคาวตอง  2 ใบ และได้นำสูตรมาพัฒนาให้ดีขึ้นจนเกิดขึ้นมาเป็นสมุนไพรที่ดีที่สุด
มีส่วนประกอบของพลูคาวสกัด และสารเบต้าคลูแคน
·  ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันและช่วยเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดขาวจำพวก NK CELL (เซลล์(Natural Killer Cells)  ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบและฆ่าเซลล์มะเร็งแบบเฉพราะ และยังช่วยต้านอนุมูลอิสระ
·       ช่วยซ่อมแซมเซลล์ที่เสื่อมสภาพ
·       ช่วยปรับสมดุลการทำงานอวัยวะต่างๆของร่างกาย


******** เลขที่อย. 24-1-09957-1-0091

******** ราคา 1,950 บาท  โปรโมชั่น ซื้อ 1 แถม 1

******** ค่าส่งนิ่มซี่เส็ง 150 บาท


******** สั่งซื้อสินค้า คลิกแอดไลน์เลย


สอบถามเพิ่มเติม >> คลิกแอดไลน์เลย

No comments:

Post a Comment